ใครบ้างที่ต้องตรวจเครน ผู้ที่มีการนำปั้นจั่น ชนิดอยู่กับที่ (ปจ1) และ
ปั้นจั่นชนิดเคลื่อนที่ (ปจ2) มาใช้งาน จะต้องทำการตรวจเครนตามหลักเกณฑ์ที่กฎหมายกำหนด ** แบบฟอร์ม ปจ.1 และ ปจ.2 ** คลิก ดาวน์โหลด ที่นี่!
แกร๊บเครน Grab Crane เป็นเครนที่ออกแบบมาสำหรับการคีบวัสดุที่มีลักษณะฝอย เช่น เศษเหล็ก, เศษขยะ, เศษพลาสติด, เศษขยะ และ เศษไม้ เรามีฟังก์ชั่นการทำงานกึ่งอัตโนมัติ ควบคุมง่าย
ลิฟท์โดยสารลิฟต์แบบมาตรฐานทั่วไปใช้ในอาคาร ปลอดภัย และมีความเร็วสูง เพื่อตอบสนองต่อการใช้งาน
ปจ.1 คืออะไร? ปั้นจั่น หรือ เครน ชนิดอยู่กับที่ตามที่กฎหมายกำหนด
ปจ. นั้นย่อมาจาก ‘ปั้นจั่น’ หรือที่เราเรียกกันติดปากว่า ‘เครน’ แต่ในกฎหมายไทยนั้นไม่สามารถจะใช้คำที่เป็นภาษาอังกฤษได้ จึงทับศัพท์ภาษาอังกฤษ ‘เครน’ ว่า ‘ปั้นจั่น’
การใช้ สัญญาณมือ ที่ถูกต้องในงานยกเครน “การยกเครน” อย่างปลอดภัยโดยการใช้สัญญาณมืออย่างถูกต้อง มีอะไรบ้าง? การยกอย่างปลอดภัยและการใช้สัญญาณมือ รูปภาพการใช้สัญญาณมือสื่อสารระหว่างผู้ปฏิบัติงานเกี่ยวกับปั้นจั่นท้ายประกาศกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน เรื่อง กำหนดรูปภาพการใช้สัญญาณมือในการสื่อสารระหว่างผู้ปฏิบัติงานเกี่ยวกับปั้นจั่น
ปัจจุบันรถเครนได้เข้าไปมีบทบาทในการทำงานประเภทต่าง ๆ เช่น งานก่อสร้าง งานขนส่ง งานโรงงานอุตสาหกรรม งานซ่อมบำรุง และงานยกย้ายทั่วไป
เพื่อทำให้การประกอบกิจการโรงงานได้รับความสะดวกและมีความคล่องตัวขึ้น ทำให้เกิดความต่อเนื่องในภาคการผลิต
นั่งร้าน เป็นอุปกรณ์เสริมที่สำคัญในการทำงานด้านการทำงานในที่สูง หลายๆ งาน ช่วยอำนวยความสะดวกเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงานและย่นระยะเวลาได้ดี
ปัจจุบันมีการนำเอาเครนหรือปั้นจั่นมาใช้ในการทำงานมากยิ่งขึ้น เครื่องจักรประเภทนี้จำเป็นที่จะต้องมีเรื่องของการควบคุมด้านกระบวนการทำงานและการนำไปใช้
เครน หรือที่เรียกว่า ปั้นจั่น หมายถึงเครื่องจักรกลที่ใช้ยกสิ่งของขึ้นลงตามแนวดิ่ง และเคลื่อนย้ายสิ่งของเหล่านั้นในลักษณะแขวนลอยไปตามแนวราบ